วัดมหาวัน จ.ลำพูน พระรอดหลวงพระรอดหลวง
ตะกรุดแดง(ตะกรุดเมตตามหานิยม)หลวงพ่อจำลอง วัดเจดีย์แดง
พระเนื้อชินสนิมแดงตะกั่ว มีลักษณะคล้ายกับพระชินเนื้อเงิน แต่จะพบสนิมอยู่ตามซอกต่างๆ ของพระ
เรื่องฮอตในรอบสัปดาห์ของหมวด สังคม
ฝันเห็นจระเข้แปลว่าอะไร รวมคำทำนายฝันเห็นจระเข้ เลขเด็ดนำโชค
พระธรรมสิทธิมงคล (พ่อท่านฉิ้น โชติโก)
ในสมัยอยุธยาเริ่มมีการสร้างพระพิมพ์เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล ความศักดิ์สิทธิ์ และดลบันดาลให้เกิดอานุภาพต่าง ๆ สำหรับพกเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจเวลาไปสงครามแทนการพกเครื่องรางแบบเก่า เช่น ผ้าประเจียด (ผ้ายันต์ที่ใช้ผูกแขนหรือคล้องคอ) ตะกรุด พิสมร เป็นต้น ต่อมาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เกิดการเปลี่ยนแนวคิดทางพุทธศาสนา อีกทั้งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมและวิทยาการจากชาติตะวันตก การสร้างพระพิมพ์เพื่อใช้เป็นเครื่องรางของขลังได้รับความนิยมมากขึ้น พระพิมพ์ที่สร้างเพื่อความเชื่อและความศรัทธาในพุทธคุณด้านต่าง ๆ เหล่านี้เรียกว่า “พระเครื่อง”
หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ รุ่นมั่งมีทวีคูณ ๒๕๓๙
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปู่บุญมี โชติปาโล)
This article has several challenges. Make sure you support improve it or go over these challenges around the chat page. (Learn how and when to eliminate these messages)
ประมูล พระเครื่อง หน้า ประมูลพระเครื่อง
This short article wants added citations for verification. Be sure 1245 to help enhance this informative article by introducing citations to responsible resources. Unsourced material may be challenged and eliminated.
พระเนื้อชินตะกั่ว ถ้าในการจัดสร้างพระพิมพ์มีสัดส่วนของเนื้อตะกั่วเยอะที่สุดจะเรียกว่าพระชินเนื้อตะกั่ว จะมีลักษณะเนื้อพระเป็นสีแดง
พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยราวสมัยทวารวดีพร้อมกับความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ ในสมัยทวารวดีได้รับเอาคติความเชื่อของชาวอินเดียเข้ามาโดยตรงส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยทวารวดีมีวัตถุประสงค์การสร้างเหมือนกับอินเดีย คือ การสร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาซึ่งเป็นความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องปัญจอันตรธานซึ่งปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา เมื่อพุทธศาสนาแผ่ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่าง ๆ แต่ละพื้นที่ อาทิ พุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเชื่อเรื่องการบำเพ็ญบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ ส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยศรีวิชัยจากที่สร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาเปลี่ยนแปลงไปสู่การสร้างเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายและเป็นการสะสมบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ในภายหน้า เป็นต้น